สติปัฏฐาน 4 จะช่วยคลายทุกข์ได้อย่างไร (9) 1

สติปัฏฐาน 4 จะช่วยคลายทุกข์ได้อย่างไร (9)

สติปัฏฐาน 4 จะช่วยคลายทุกข์ให้ท่านได้อย่างไร นับเป็นบทความลำดับที่ 9 ของหมวด เรื่องเล่า ประสบการณ์ ปฏิบัติธรรม เพื่อคลายทุกข์ โดยจะกล่าวถึงการพิจารณาความไม่เที่ยงของกาย การพิจารณาความไม่เที่ยงของเวทนา การพิจารณาความไม่เที่ยงของจิต  และการพิจารณาความไม่เที่ยงของธรรม ปิดท้ายด้วย คุยกับดร.ชา 1.ความนำ             ในบทความที่แล้ว คือ บทความที่ (8) ได้เล่าถึงการนั่งสมาธิด้วยสัมมาสติเพื่อคลายทุกข์ โดยได้กล่าวถึงกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ได้แก่ การพิจารณาความไม่เที่ยงของลมหายใจเช้า-ออก การพิจารณาความไม่เที่ยงของกายภายนอก และกายภายใน             สำหรับบทความนี้ จะได้ขยายความสติปัฏฐาน 4 เพิ่มเตืม ในการพิจารณาความไม่เที่ยงของกายเพิ่มเติม การพิจารณาความไม่เที่ยงของเวทนา การพิจารณาความไม่เที่ยงของจิต และการพิจารณาความไม่เที่ยงของธรรม             การพิจารณาความไม่เที่ยงของกาย เวทนา จิต และธรรม เป็นการใช้สัมมาสติ ในขณะเจริญสัมมาสมาธิ เพื่อให้เราสามารถคลายความทุกข์ด้วยการไม่ยึดมั่นถือมั่นในสิ่งที่ไม่เที่ยงแท้แน่นอน…

นั่งสมาธิ ด้วยสัมมาสติ เพื่อคลายทุกข์ (8) 2

นั่งสมาธิ ด้วยสัมมาสติ เพื่อคลายทุกข์ (8)

บทความ นั่งสมาธิ ด้วยสัมมาสติ เพื่อคลายทุกข์ จะกล่าวถึง สัมมาสติกับการนั่งสมาธิหรือเข้าสมาธิ เพื่อคลายทุกข์ สรุป และคุยกับดร.ชา เพื่อให้ท่านผู้ได้นำไปเป็นแนวทางปฏิบัติในเบื้องต้น 1.ความนำ           ในบทความที่แล้ว คือ บทความ (7)ผมได้เล่าเรื่องการนั่งสมาธิ เพื่อให้ได้ฌาน หมายถึง รูปฌาน ได้แก่ ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน และจตุตถฌาน  โดยองค์ประกอบของฌานมีอยู่ 5 ประการ ได้แก่ วิตก-วิจาร-ปิติ-สุข-เอกัคคตา             ปฐมฌาน ประกอบด้วย วิตก-วิจาร-ปิติ-สุข-เอกัคคตา             หาก ตัดวิตกวิจารออกได้ เหลือแต่ ปิติ-สุข-เอกัคคตา จะเป็นทุติยฌาน             หาก ตัดปิติออกได้ เหลือแต่ สุข-เอกัคคตา จะเป็นตติยฌาน…

Share on Social Media
%d bloggers like this: