การบริหารในสถานการณ์ฉุกเฉินกรณีโรคโควิด-19 - กฎหมายที่นำมาใช้บังคับ(2) 1

การบริหารในสถานการณ์ฉุกเฉินกรณีโรคโควิด-19 – กฎหมายที่นำมาใช้บังคับ(2)

การมองการบริหารในสถานการณ์ฉุกเฉินกรณีโรคโควิดข-19 ด้วยประสบการณ์ ฯ โรคไข้หวัดนกระบาด ปี พ.ศ.2547 อาจมองด้วยมิติทางด้านกฎหมายที่นำมาใช้บังคับ คือ พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 พระราชกำหนดการบริหารในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 กฎหมายที่ใช้บังคับในการแก้ปัญหาโรคโควิด-19             กฎหมายที่ใช้บังคับในการแก้ปัญหาโรควิด-19 มีอยู่ 2 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558    และพระราชกำหนดในการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 1.พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558                เป็นกฎหมายที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการ สาระสำคัญของกฎหมายฉบับนี้ คือ กำหนดให้มีคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธานกรรมการ  อธิบดีกรมควบคุโรคติดต่อ เป็นกรรมการและเลขานุการ กำหนให้มีคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด มีผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานกรรมการ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด เป็นกรรมการและเลขานุการ กำหนดให้มีคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร มีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นประธานกรรมการ ผู้อำนวยการสำนักอนามัยกรุงเทพมหานคร เป็นกรรมการและเลขานุการ 2.พระราชกำหนดการบริหารในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.254…

Share on Social Media
%d bloggers like this: